อย
ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรป.)

COMPLAINT AND ENFORCEMENT MANAGEMENT CENTER
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • แนะนำหน่วยงาน
    • โครงสร้างและอัตรากำลัง
    • ความเป็นมาและหน้าที่ความรับผิดชอบ
    • วิสัยทัศน์และค่านิยม
    • ติดต่อเรา
  • งานร้องเรียน
    • แจ้งเรื่องร้องเรียน
    • คู่มือการร้องเรียน
    • ช่องทางการร้องเรียน
    • ขั้นตอนการร้องเรียน
    • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
    • ติดตามสถานะเรื่องร้องเรียน
    • แจ้งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับแจ้งความนำจับ การแสวงหาข้อเท็จจริง การพิจารณาวินิจฉัย และการจ่ายเงินสินบนนำจับ
  • งานโฆษณา
    • การขออนุญาตโฆษณา
    • วิธีการรายงานโฆษณาที่ผิดกฎหมาย
    • ข้อมูลเผยแพร่
  • งานปราบปราม
    • ข่าวจับกุมดำเนินคดี
    • เผาทำลายผลิตภัณฑ์สุขภาพของกลางที่มิใช่ยาเสพติดให้โทษ
  • เตือนภัย
    • Safety Alert
    • Check Sure Share
    • ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม
  • กฎหมายน่ารู้
    • กฎหมายแยกตาม พรบ.
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณา
  • สถิติ
    • สถิติการร้องเรียน
    • สถิติการเฝ้าระวังและตรวจสอบโฆษณา
    • สถิติการปราบปราม
  • สำหรับเจ้าหน้าที่
    • สำหรับเจ้าหน้าที่ ศรป.
    • จองห้องประชุม
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • แนะนำหน่วยงาน
    • โครงสร้างและอัตรากำลัง
    • ความเป็นมาและหน้าที่ความรับผิดชอบ
    • วิสัยทัศน์และค่านิยม
    • ติดต่อเรา
  • งานร้องเรียน
    • แจ้งเรื่องร้องเรียน
    • คู่มือการร้องเรียน
    • ช่องทางการร้องเรียน
    • ขั้นตอนการร้องเรียน
    • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
    • ติดตามสถานะเรื่องร้องเรียน
    • แจ้งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับแจ้งความนำจับ การแสวงหาข้อเท็จจริง การพิจารณาวินิจฉัย และการจ่ายเงินสินบนนำจับ
  • งานโฆษณา
    • การขออนุญาตโฆษณา
    • วิธีการรายงานโฆษณาที่ผิดกฎหมาย
    • ข้อมูลเผยแพร่
  • งานปราบปราม
    • ข่าวจับกุมดำเนินคดี
    • เผาทำลายผลิตภัณฑ์สุขภาพของกลางที่มิใช่ยาเสพติดให้โทษ
  • เตือนภัย
    • Safety Alert
    • Check Sure Share
    • ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม
  • กฎหมายน่ารู้
    • กฎหมายแยกตาม พรบ.
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณา
  • สถิติ
    • สถิติการร้องเรียน
    • สถิติการเฝ้าระวังและตรวจสอบโฆษณา
    • สถิติการปราบปราม
  • สำหรับเจ้าหน้าที่
    • สำหรับเจ้าหน้าที่ ศรป.
    • จองห้องประชุม
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
ภาษา
EN
image assembly
การเข้าถึง
close assembly
  • ขนาดตัวอักษร
    • ก
    • ก
    • ก
  • การเว้นระยะห่าง
    • icon space 1
    • icon space 2
    • icon space 3
  • ความตัดกันของสี
    • icon color 1สีปกติ
    • icon color 2ขาวดำ
    • icon color 3ดำ-เหลือง
banner

  • หน้าแรก
  • คำถามที่พบบ่อย

คำถามที่พบบ่อย


คำถามที่พบบ่อย
  • ทั้งหมด
  • การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์ยา
  • ผลิตภัณฑ์อาหาร
  • ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์
  • ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
  • ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข
  • การร้องเรียนกับ อย.
  • การตรวจสอบข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  • การร้องเรียนประสงค์เงินสินบน

อย. จะตรวจสอบข้อมูลติดต่อกลับที่ทานผู้ร้องเรียนแจ้งไว้ จากนั้นเมื่อหน่วยงานดำเนินการได้ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนเรียบร้อยแล้ว อย.จะแจ้งผลดำเนินการให้ผู้ร้องเรียนทราบผ่านช่องทางนั้นๆ

การติดตามผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน สามารถติดตามผลดำเนินการได้ทุกช่องทางเลขหมายเดียวกันคือ 1556 โดยอ้างอิงเลขรับเรื่องร้องเรียนที่เจ้าหน้าที่แจ้งไว้ในการตอบรับเบื้องต้น เช่น ร.123/65 เป็นต้น

ดําเนินการตรวจสอบเรื่องร้องเรียน โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ ภายในเวลาที่กําหนด แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. ภายในเวลา 10 วันทําการ ได้แก่ เรื่องร้องเรียนที่มีข้อมูลครบถ้วน สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงจากฐานข้อมูลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ และไม่ต้องตรวจสถานประกอบการ
2. ภายในเวลา 30 วันทําการ ได้แก่ เรื่องร้องเรียนที่มีข้อมูลไม่ครบถ้วน สามารถรวบรวมข้อเท็จจริงโดยไม่ต้องทําหลักฐานเพิ่มเติม และไม่ต้องตรวจสถานประกอบการ
3. ภายในเวลา 60 วันทําการ ได้แก่ เรื่องร้องเรียนที่มีข้อมูลไม่ครบถ้วน ต้องสืบหาข้อเท็จจริงรวมถึงต้องตรวจสถานประกอบการ
ทั้งนี้ เกณฑ์ระยะเวลาการแก้ไขปัญหาการร้องเรียนของผู้บริโภคนี้ไม่รวมกรณี ต้องส่งตัวอย่างตรวจห้องปฏิบัติการ และการดําเนินงานที่ต้องดําเนินการ ร่วมกับหน่วยงานอื่น อาทิ สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และกรุงเทพมหานคร (กทม.) ฯลฯ

1. รับเรื่อง พร้อมแจ้งตอบรับเบื้องต้น และส่งต่อหน่วยงานดําเนินการ
2. หน่วยงานดําเนินการตรวจสอบเรื่องร้องเรียน โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ
3. แจ้งตอบผลดำเนินการ

1. พบความบกพร่องของผลิตภัณฑ์ที่เห็นได้ชัดเจน เช่น เสียก่อนหมดอายุ กับ อย. ไม่มีฉลากภาษาไทย การแสดงฉลากไม่ครบถ้วน เป็นต้น
2. พบโฆษณาโอ้อวด หลอกลวง หรือทําให้เข้าใจผิด ไม่ว่าจะเป็นโฆษณา โดยวิธีใด เช่น โฆษณาเครื่องดื่มสมุนไพรผ่านสื่อโทรทัศน์ดาวเทียมว่าสามารถ รักษามะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น ฃ
3. พบการผลิต นําเข้า หรือขายยา และวัตถุเสพติด โดยไม่ได้รับอนุญาต เช่น ร้านชําขายยาโดยไม่ได้ขออนุญาต เป็นต้น
4. พบการผลิต นําเข้า หรือขาย ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอม เช่น พบแหล่งผลิต น้ําปลาปลอม นําเข้าเครื่องสําอางปลอม เป็นต้น
5. พบการผลิต หรือขาย ผลิตภัณฑ์ที่ห้าม หรือมีสารที่ห้ามใช้เช่น ยาชุด ครีมทาฝ้าที่มีสารปรอท - แอมโมเนีย หรือไฮโดรควิโนน หรือกรดวิตามินเอ อาหารที่ผสมสารบอแรกซ์สารฟอกขาว หรือ กรดซาลิซิลิค เป็นต้น
6. ได้รับอันตรายจากการบริโภค หรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทั้งที่ได้ปฏิบัติตาม วิธีใช้คําแนะนํา หรือข้อควรระวังตามที่ระบุบนฉลากแล้ว
7. พบการทุจริต และประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่และหน่วยงานภายใน อย.
8. พบปัญหาเกี่ยวกับการดําเนินงานของ อย. เช่น การให้บริการล่าช้า เป็นต้น

1. สายด่วน อย.1556
2. โทรศัพท์ 0-2590-1556
3. ตู้ ปณ.1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004
4. อีเมล์ 1556@fda.moph.go.th
5. มาร้องเรียนด้วยตนเอง (หรือกรณี มีตัวอย่างผลิตภัณฑ์มามอบให้) ผู้บริโภคที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ สามารถร้องเรียน ได้ที่ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรป.) อาคาร 5 ชั้น 1 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ผู้บริโภคที่อยู่ในต่างจังหวัด แจ้งร้องเรียนที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่
6. เว็บไซต์สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา www.fda.moph.go.th
7. เว็บไซต์ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามฯ (ศรป.) https://cemc.fda.moph.go.th/
8. เฟซบุ๊ก FDA Thai

ผลิตภัณฑ์สุขภาพแต่ละประเภท หากผ่านการขออนุญาตกับ อย. แล้ว บนฉลากจะแสงสัญลักษณ์ที่แสดงถึงการได้รับอนุญาตจาก อย. แล้วต่างกัน ได้แก่

- ผลิตภัณฑ์อาหาร จะแสดงเลขสารบบอาหาร (ตัวเลข 13 หลัก) ในกรอบเครื่องหมาย อย. สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ไม่กำหนดให้ต้องขอเลข อย. (เสขสารบออาหารในกรอบเครื่องหมาย อย.) แต่สถานที่ผลิตต้องผ่านหลักเกณฑ์ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข โดยสามารถยื่นขอเลข อย.ได้หากต้องการแสดงเครื่องหมาย อย. บนฉลาก

- ผลิตภัณฑ์ยา จะแสดง "เลขทะเบียนตำรับยา" โดยมีข้อความ "ทะเบียนยาเลขที่....” หรือ "Reg .No....." ซึ่งจะแสดงเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษตามด้วยตัวเลขลำดับที่ขึ้นทะเบียนทับปี พ.ศ.

- ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง จะแสดงเลขที่ใบรับแจ้ง โดยกำหนดให้เป็นเลข 10 หลัก ตัวอย่างเช่น 10.-1-52xxxxX และห้ามนำเลขที่ใบรับแจ้งมาใส่ในกรอบเครื่องหมาย อย.

- ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์

ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์แบ่งระดับการควบคุมตามระดับความเสี่ยงเป็น 3 ประเภท

1. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องมีใบอนุญาต ได้แก่ ถุงยางอนามัย ถุงมือยางสำหรับศัลยกรรม ชุดตรวจเชื้อ HIV คอนแทคเลนส์ ต้องมีเครื่องหมาย อย. บนฉลาก ผ. หมายถึง ผลิต น. หมายถึง นำเข้า

2. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องแจ้งรายการละเอียด ได้แก่ เครื่องที่ใช้เพื่อกายภาพบำบัด เครื่องตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในร่างกาย เต้านมเทียมซิลิโคน ไม่ต้องมีเครื่องหมาย อย.บนฉลาก แต่ต้องมี "เลขที่ใบรับแจ้ง"

3. เครื่องมือแพทย์ทั่วไป ได้แก่ เครื่องมือแพทย์ที่นอกเหนือจากนี้ เช่น เตียงผ่าตัด เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด เครื่องตรวจวัดความดันโลหิต เป็นต้น ไม่ต้องแสดงเครื่องหมาย อย. หรือเลขที่ใบรับแจ้งบนฉลาก

-ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน อย. กำหนดให้ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้บางกลุ่มต้องมีเครื่องหมาย อย. แสดงบนฉลาก โดยในเครื่องหมาย อย. ประกอบด้วยอักษรย่อ วอส. (วัตถุอันตรายที่ใช้ทางสาธารณสุข) ตามด้วยเลขทะเบียนทับปี พ.ศ. แต่ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนบางกลุ่มได้รับการยกเว้นไม่ต้องแสดงเครื่องหมาย อย. ได้แก่ ก้อนดับกลิ่น/ลูกเหม็น ผลิตภัณฑ์ลบหรือแก้คำผิดที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย เทปลบคำผิด และน้ำมันตะไคร้หอม (citronella oil) แต่ต้องมีเลขที่ใบรับแจ้งทับปี พ.ศ. ตัวอย่างเช่น เลขที่

สามารถตรวจสอบหรือสืบค้นข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ที่ เว็บไซต์สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) www.fda.moph.go.th คลิกเมนู "ตรวจสอบผลิตภัณฑ์" เลือกประเภทผลิตภัณฑ์ที่ต้องการตรวจสอบ

สายด่วน อย. โทร. 1556 เปิดให้บริการวันจันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.30 น. ส่วนวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์ มีระบบฝากข้อความ ซึ่งเมื่อถึงเวลาทำการ เจ้าหน้าที่จะเปิดฟังและบันทึกเพื่อดำเนินการต่อไปทันที


แจ้งได้ที่สายด่วน อย. โทร 1556

1234
แสดงผล รายการ
อย
ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรป.)

COMPLAINT AND ENFORCEMENT MANAGEMENT CENTER

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์
ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

  • Website Policy
  • Privacy Policy
  • Disclaimer

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

Sitemap
หน้าแรก
    เกี่ยวกับเรา
    • แนะนำหน่วยงาน
    • โครงสร้างและอัตรากำลัง
    • ความเป็นมาและหน้าที่ความรับผิดชอบ
    • วิสัยทัศน์และค่านิยม
    • ติดต่อเรา
    งานร้องเรียน
    • แจ้งเรื่องร้องเรียน
    • คู่มือการร้องเรียน
    • ช่องทางการร้องเรียน
    • ขั้นตอนการร้องเรียน
    • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
    • ติดตามสถานะเรื่องร้องเรียน
    • แจ้งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับแจ้งความนำจับ การแสวงหาข้อเท็จจริง การพิจารณาวินิจฉัย และการจ่ายเงินสินบนนำจับ
    งานโฆษณา
    • การขออนุญาตโฆษณา
    • วิธีการรายงานโฆษณาที่ผิดกฎหมาย
    • ข้อมูลเผยแพร่
    งานปราบปราม
    • ข่าวจับกุมดำเนินคดี
    • เผาทำลายผลิตภัณฑ์สุขภาพของกลางที่มิใช่ยาเสพติดให้โทษ
    เตือนภัย
    • Safety Alert
    • Check Sure Share
    • ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม
    กฎหมายน่ารู้
    • กฎหมายแยกตาม พรบ.
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณา
    สถิติ
    • สถิติการร้องเรียน
    • สถิติการเฝ้าระวังและตรวจสอบโฆษณา
    • สถิติการปราบปราม
    สำหรับเจ้าหน้าที่
    • สำหรับเจ้าหน้าที่ ศรป.
    • จองห้องประชุม

    ผู้ชมเว็บไซต์ :

    rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
    • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
    • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
    Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

    Subscribe

    เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ Subscribe

    no-popup